Informal Safety Net กลไกภาคประชาสังคมที่ไม่เป็นทางการของไทย คือ แกนหลักสำคัญที่ช่วยให้รับมือ COVID-19 ได้ผล ในยามที่กลไกภาครัฐอ่อนแอ
The Useless Class ในที่สุดก็ได้คำตอบว่า The Useless Class ของ Yuval Harari เขาไปใช้เวลาที่เหลือว่างเปล่าประโยชน์ในชีวิตกับอะไรกัน มันคือ Animal Crossing นี่เอง!
Rethinking Space ประเด็นการออกแบบ “พื้นที่” (space) ในเมืองใหญ่ เป็นสิ่งที่ต้องคิดกันใหม่หมดในโลกยุคหลัง COVID-19
จากนิธิถึงโควิด: การปกครองท้องถิ่น และ ชาตินิยม อ่านประเด็นการจัดการโควิดในไทยจากนิธิ เอียวศรีวงศ์ การปกครองท้องถิ่นอ่อนเปลี้ย และ ชาตินิยม ไม่สามารถรวมใจคนในชาติได้อีกต่อไป
The End of Shared Space การมาถึงของ COVID-19 ทำให้แนวคิด Shared Space หรือ Common Space เริ่มพังทลาย เพราะคนจะกลัวไม่กล้าเข้าใกล้ผู้อื่น คำถามคือคนจะกลับมาใช้ชีวิตแบบเดิมได้หรือไม่
Readjust กรอบคิดของการปรับตัว (readjust) สู่โลก new normal หลัง COVID ที่แบ่งออกเป็น 3 แกนคือ การเคลื่อนย้ายข้อมูล คน และสิ่งของ ซึ่งบางอย่างจะถดถอยลงจากเดิม
อะไรสำคัญกว่า “อะไรสำคัญกว่า” เพลงของ ศุ บุญเลี้ยง ที่แต่งตอนน้ำท่วมใหญ่ปี 2554 ยังสามารถนำมาใช้ได้กับวิกฤต COVID-19 ปี 2563 ได้เป็นอย่างดี
The End of Globalization As We Know It บทความของ อ.จันจิรา สมบัติพูนศิริ (คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ว่าด้วยจุดจบของโลกาภิวัฒน์ หลัง COVID-19
Battle of Attrition การต่อสู้กับ COVID-19 เป็นสงครามยืดเยื้อ ยุทธศาสตร์เดียวในการเอาตัวรอดไปได้ คือ รักษาทรัพยากรเอาไว้ให้ได้นานที่สุด